EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
พรบ. กยท.
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2561
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
ประจำปีงบประมาณ 2560
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
วารสารยางพารา
ถ่ายทอดสด
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
ระบบฐานข้อมูลยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข้อมูลทางวิชาการ
อากาศหนาว ทางภาคอีสานและเหนือ ส่งผลต่อสมบัติทางกายภาพของยางแท่ง (16/01/60)
วันที่ 19 ม.ค. 2561
เนื่องจากปีนี้เป็นปีที่มีอากาศหนาวเย็นกว่าทุกปี เกษตรกรที่กรีดยางในช่วงฤดูหนาวมักพบว่าน้ำยางไหลนานมากกว่าในช่วงฤดูกาลปกติ เนื่องจากน้ำในใบระเหยช้าส่งผลให้แรงดันในท่อน้ำยางเพิ่มขึ้น การไหลของน้ำยางจึงใช้ระยะเวลานานขึ้น ความเข้มข้นของน้ำยางจึงลดลง ในฤดูกาลปกติน้ำยางจะมีปริมาณเนื้อยางแห้งเฉลี่ย 32% แต่ในช่วงฤดูหนาวบางครั้งอาจทำให้น้ำยางมีเนื้อแห้งลดลงเหลือเพียง 12% แต่จะมีปริมาณสารที่ไม่ใช่ยางในน้ำยางสูงขึ้น สารดังกล่าวประกอบด้วย ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และโลหะอิออน เช่น ทองแดง แมงกานีส เหล็ก และแมกนีเซียม น้ำยางที่ได้เมื่อนำไปผลิตเป็นยางก้อนถ้วยซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตยางแท่ง จะส่งผลกระทบต่อสมบัติทางกายภาพของยาง ทำให้ค่าความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น (Origin Plasticity, Po) ลดลงเล็กน้อย ค่าความต้านทานต่อการเสื่อมสภาพ (Plasticity Retention Index, PRI) ลดลงเล็กน้อยเช่นกัน แต่เมื่อเก็บไว้สักระยะหนึ่งกลับพบว่ายางจะมีค่าความยืดหยุ่น และความแข็ง (hardness) สูงขึ้น เนื่องจากการสูญเสียน้ำจากอากาศหนาวเย็นทำให้เกิดความแข็งระหว่างการเก็บ (storage hardening)
ทำนองเดียวกันกับการใช้สารเร่งน้ำยาง น้ำยางจะไหลนานกว่าปกติ ซึ่งเป็นการเสี่ยงในการนำน้ำยางไปผลิตเป็นยางแผ่น ดังนั้นไม่แนะนำให้ใช้น้ำยางสดที่ใช้สารเร่งน้ำยางไปผลิตเป็นยางแผ่นเนื่องจากจะเกิดฟองอากาศ จากการบูดเน่าของสารที่ไม่ใช่ยางในน้ำยางที่ไหลออกมานานก่อนนำมาผลิต ทำให้กลายเป็นยางฟอง
ดังนั้นจึงมีข้อแนะนำการนำยางก้อนถ้วยไปผลิตเป็นยางแท่งในช่วงฤดูหนาว ควรตรวจสอบค่า Po, PRI และค่าความหนืดของวัตถุดิบยางแต่ละแหล่งที่ผลิต โดยเฉพาะค่า PRI อย่าให้ต่ำกว่าค่าปกติที่ผลิตได้และควรผสมยางก้อนถ้วยจากแหล่งผลิตที่มีค่า PRI สูง หรือเลือกยางบางพันธ์ที่ให้ค่า Po หรือ PRI สูง เช่น RRIT 251 หรือ RRIT 408 และในขั้นตอนการอบแห้ง ควรลดอุณหภูมิของเตาอบในช่วงที่ 2 และ 3 ให้ต่ำลงและยืดระยะเวลาออกไปเพื่อช่วยให้ค่า Po, PRI และค่าความหนืด สูงขึ้นได้
นอกจากนี้ควรสต๊อควัตถุดิบยางเก็บไว้ เพื่อที่จะได้นำมาผลิตในช่วงฤดูหนาว จะได้นำมาผสมปนกันระหว่างยางก้อนถ้วยในฤดูกาลปกติกับวัตถุดิบที่ผลิตในช่วงฤดูหนาว จะไม่ได้ไม่ประสบปัญหาในเรื่องคุณภาพที่มีค่าแปรปรวนไม่คงที่ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป
เรื่อง/ภาพ : ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 241 Email: orf2008@rubber.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์
|
การปฏิเสธความรับผิดชอบ
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์