EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
กฎหมายทีเกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. กยท.
พ.ร.บ. กยท.(EN)
สรุปสาระสำคัญ พรบ. การยางฯ 58
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2563
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
ผู้เกษียณ
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
รายงานเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558
รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
ตรวจสอบสิทธิ์ประกันเกษตรกร
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ถ่ายทอดสด
คู่มือ work from home
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
ระบบฐานข้อมูลยางพารา
เอกสารวิชาการ
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2562
รายงานผลการวิจัยปี 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ถอดองค์ความรู้
รวมบทคัดย่อ งานวิจัย 2557-2561
วารสารยางพารา
คำแนะนำพันธุ์ยาง
2554
2559
องค์ความรู้
คู่มือข้อมูลทางวิชาการและแนวทางการป้องกันกำจัดโรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ระบบการสร้างสวนยางแบบผสมผสานโดยการปลูกยางร่วมกับพืชชนิดอื่น
หลักการปลูกสร้างสวนยางแบบผสมผสาน
การปฎิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
องค์ความรู้เกี่ยวกับ"โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข้อมูลทางวิชาการ
โรงงานน้ำยางสดระวัง......ห้ามนำน้ำยางสดสำหรับส่งโรงงานน้ำยางข้นมาผลิตยางแผ่นรมควัน (4/02/61)
วันที่ 4 ก.พ. 2561
น้ำยางสดที่ส่งโรงงานยางดิบประเภทต่างๆ จะมีการใช้สารรักษาสภาพน้ำยางที่แตกต่างกัน เช่น น้ำยางสดสำหรับส่งโรงงานน้ำยางข้น ต้องใช้สารรักษาสภาพน้ำยางที่สามารถคงความสดได้เป็นระยะเวลายาวนาน เพื่อไม่ให้น้ำยางบูด ซึ่งสารที่นิยมใช้คือแอมโมเนีย เนื่องจากประสิทธิภาพสูง ใช้ในอัตรา 0.3% - 0.5% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด แต่เนื่องจากน้ำยางสดที่นำไปปั่นเป็นน้ำยางข้นต้องใช้เวลาเก็บก่อนปั่นอีก 1 วัน เพื่อตกตะกอนแมกนีเซียม การเพิ่มปริมาณแอมโมเนีย เพื่อลดความบูดหรือกรดไขมันระเหยได้ (Volatile Fatty Acid, VFA No.) นั้นไม่สามารถทำได้ จำเป็นต้องใช้แอมโมเนียร่วมกับ TMTD/ZnO หรือที่เรียก ยาขาว ในอัตรา 0.025% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด จะสามารถควบคุมกรดไขมันระเหยได้ ให้ต่ำกว่า 0.02 ไว้ได้นานถึง 3 วัน ซึ่งสารที่ใช้รักษาสภาพน้ำยางสดแบบนี้ เหมาะสำหรับน้ำยางสดที่ส่งขายยังโรงงานผลิตน้ำยางข้นเท่านั้น เพราะหากจะนำมาผลิตเป็นยางแผ่นดิบหรือยางแผ่นรมควัน จำเป็นต้องใช้ปริมาณกรดมาก ยางที่จับตัวจะแข็ง รีดยาง จะทำให้แผ่นยางขาดสปริง นอกจากนี้แผ่นยางเหนียวและมีสีคล้ำ เมื่อวางซ้อนทับกันจะดึงหรือลอกออกยาก
ส่วนสารเคมีที่ใช้รักษาสภาพน้ำยางสดสำหรับผลิตยางแผ่นรมควัน แนะนำให้ใช้เท่าที่จำเป็น เช่น ใช้โซเดียมซัลไฟต์ ในอัตรา 0.05% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด หรือสารละลายแอมโมเนียในอัตรา 0.03% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด สามารถรักษาสภาพน้ำยางได้นานถึง 6 ชั่วโมง
สำหรับน้ำยางสดที่นำไปผลิตเป็นยางแท่ง STR5L ยางเกรดนี้เป็นยางแท่งชั้นพิเศษที่ต้องการสีของยางจางกว่ายางแผ่นอบแห้ง การรักษาสภาพของน้ำยางสด จึงต้องพิจารณาถึงสารเคมีที่ใช้อย่างรอบคอบ การใช้โซเดียมซัลไฟต์ 0.05% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด สามารถรักษาสภาพได้นาน 4 ชั่วโมง และถ้าต้องการให้สีจางเป็นพิเศษ อาจใช้แอมโมเนียร่วมกับกรดบอริก ในอัตรา 0.05% : 0.05% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด สามารถรักษาสภาพน้ำยางสดได้นานถึง 40 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องใช้ร่วมกับโซเดียมเมตะไบซัลไฟต์ จะช่วยให้สีจางได้ตามต้องการ
ดังนั้น การใช้สารรักษาสภาพน้ำยางสดจะต้องพิจารณาถึงความจำเป็นและเหมาะสม คำนึงถึงสมบัติทางกายภาพของยางที่ผลิตได้ หากใช้สารรักษาสภาพที่ไม่เหมาะสมกับการนำไปแปรรูปเป็นยางดิบชนิดนั้น ๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ด้วยเช่นกัน เรื่อง/ภาพ : ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 511 Email: orf2008@rubber.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายข้อมูลส่วนตัว
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์