EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
กฎหมายทีเกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. กยท.
พ.ร.บ. กยท.(EN)
สรุปสาระสำคัญ พรบ. การยางฯ 58
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2563
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
ผู้เกษียณ
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
รายงานเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558
รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
ตรวจสอบสิทธิ์ประกันเกษตรกร
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ถ่ายทอดสด
คู่มือ work from home
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
ระบบฐานข้อมูลยางพารา
เอกสารวิชาการ
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2562
รายงานผลการวิจัยปี 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ถอดองค์ความรู้
รวมบทคัดย่อ งานวิจัย 2557-2561
วารสารยางพารา
คำแนะนำพันธุ์ยาง
2554
2559
องค์ความรู้
คู่มือข้อมูลทางวิชาการและแนวทางการป้องกันกำจัดโรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ระบบการสร้างสวนยางแบบผสมผสานโดยการปลูกยางร่วมกับพืชชนิดอื่น
หลักการปลูกสร้างสวนยางแบบผสมผสาน
การปฎิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
องค์ความรู้เกี่ยวกับ"โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข่าวประชาสัมพันธ์
เรื่องที่ต้องพึงระวัง หน้ากรีดเสียหาย เสริมความรู้ใน แปลงยางพารามาตรฐาน GAP (24/05/61)
วันที่ 28 พ.ค. 2561
ตามคำแนะนำของสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร (เดิม) แนะนำให้เกษตรกรกรีดยางจากซ้ายบนลงทางขวาล่างทำมุม 30 องศา เพื่อตัดท่อน้ำยางให้มากที่สุด เนื่องจากท่อน้ำยางเรียงตัวเอียงประมาณ 3 องศา จากขวามาซ้าย วิธีกรีดให้กรีดจากเปลือกไม้ด้านนอก กรีดให้ลึกถึงเปลือกด้านในแต่ให้ห่างจากเยื่อเจริญไม่ถึง 0.5 มิลลิเมตร จะสามารถตัดท่อน้ำยางได้มากที่สุด ส่วนสำคัญที่จะให้น้ำยางไหลมากและไหลนาน นอกจากต้นยางจะมีอายุครบ 7 ปี หรือเส้นรอบวงถึง 50 ซม. แล้ว วิธีการกรีดยางที่ถูกวิธีนอกจากคำแนะนำข้างต้น จะต้องไม่ทำให้เยื่อเจริญเสียหาย อย่างไรก็ตามจากการลงพื้นที่ทางภาคอีสานของคณะ GAP ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้ และศูนย์วิจัยยางบุรีรัมย์พบว่า ส่วนใหญ่หน้ากรีดเสียหายถึงร้อยละ 50 ของพื้นที่ทางภาคอีสานทั้งหมด บางรายหน้ากรีดเสียหายอย่างรุนแรงหรือเกิดอาการเปลือกแห้ง จึงเปลี่ยนแนวการกรีดใหม่ คือ กรีดจากขวามาซ้ายแทน ซึ่งการกระทำเช่นนี้ไม่ได้ช่วยให้น้ำยางไหลได้เช่นเดิม กลับยิ่งทำให้สิ้นเปลืองหน้ากรีดและหน้ายางเสียหายเพิ่มขึ้นมากกว่าเดิมอีกด้วย
แต่ทั้งนี้ การที่น้ำยางไม่ไหลมาจากหลายสาเหตุ เช่น ขาดการบำรุงรักษา กรีดบาด กรีดถี่ สภาพพื้นที่ สภาพดินไม่เหมาะสม กรีดยางต้นเล็ก เกิดโรคหรือศัตรูพืช สภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้ง การใช้สารเร่งน้ำยาง การใช้กรดเข้มข้นมากเกินไปในการทำยางก้อนถ้วย เป็นต้น ความเสียหายที่เกิดขึ้นบางครั้งยากที่จะแก้ไข หากได้ปฏิบัติตามคำแนะนำในการจัดการสวนยางอย่างถูกวิธี ปฏิบัติตามหลักทางการเกษตรดีที่เหมาะสมหรือมาตรฐาน GAP สำหรับยางพารา จะทำให้ได้น้ำยางที่คุ้มค่ากับการลงทุน และยังได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ มาตรฐาน สร้างความยั่งยืนให้กับเกษตรกรต่อลูกหลาน ต่อประเทศชาติสืบไป
เกษตรกรท่านใดที่ต้องการขอคำแนะนำ หรือขอรับการรับรองแปลงยางพารามาตรฐาน GAP สามารถติดต่อได้ที่ ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้ อ. หาดใหญ่ จ. สงขลา โทรศัพท์ 0 7489 4307 ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคตะวันออก อ. สนามชัยเขต จ. ฉะเชิงเทรา โทรศัพท์ 0 6390 56139 ศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา อ. สนามชัยเขต จ. ฉะเชิงเทรา โทรศัพท์ 0 3813 6225-6 ศูนย์วิจัยยางบุรีรัมย์ อ. สตึก จ. บุรีรัมย์ โทรศัพท์ 0 4466 6079
เรื่อง : ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล
ภาพ : คมกริช กังรัตน์
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 511 Email: orf2008@rubber.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายข้อมูลส่วนตัว
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์