EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
พรบ. กยท.
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2561
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ถ่ายทอดสด
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
ระบบฐานข้อมูลยางพารา
เอกสารวิชาการ
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ถอดองค์ความรู้
วารสารยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข่าวประชาสัมพันธ์
ยกระดับคุณภาพมาตรฐานยางเครพ GMP ทางภาคอีสาน
วันที่ 12 ก.พ. 2560
ปัจจุบันยางเครพเข้ามามีบทบาทสำคัญกับเกษตรกรในการยกระดับรายได้จากการทำยางก้อนถ้วยเนื่องจากส่วนใหญ่มองว่าถูกเอาเปรียบจากการประเมินค่าปริมาณเนื้อยางแห้งที่เรียก DRC ทำให้ต้องดำเนินการแปรรูปยางเพื่อเพิ่มมูลค่าเป็นยางเครพส่งต่อยังโรงงานยางแท่ง อย่างไรก็ตามการผลิตยางเครพเพียงเพื่อรีดน้ำออก ผ่านเครื่องเครพเพียง 3 หรือ 4 ครั้ง รีดออกมาเป็นผืนยาว ส่งยางเครพสดยังโรงงานยางแท่งนำไปผ่านเครื่องจักรอีกไม่กี่ตัว จะเป็นการลดต้นทุนการจัดการยางก้อนถ้วย ลดมลภาวะ ลดแรงงาน ให้กับโรงงานยางแท่งไปได้มาก ซึ่งกำไรที่ได้จากการแปรรูปเป็นยางเครพก็ไม่ได้มากมายนักเพราะโรงงานยางแท่งอาจต้องรับกับสภาวะเสี่ยงต่อการมีสิ่งปนเปื้อน เช่น ยางตาย หรือเศษพลาสติก ทำให้มองว่าการผลิตยางเครพส่งต่อยังโรงงานยางแท่งกลุ่มเกษตรกรก็ยังถูกเอาเปรียบอยู่ดี
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือเกษตรกร สถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบกิจการในการผลิตยางเครพตามมาตรฐาน GMP โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตยางเครพให้เป็นแผ่นบาง ที่ได้รับการรับรองคุณภาพสินค้าจากการยางแห่งประเทศไทยส่งต่อโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์โดยตรง ได้เนื้อยางที่มีความสม่ำเสมอทุกครั้งที่ผลิต เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างแท้จริง ขณะเดียวกันในอนาคตอันใกล้นี้มาตรฐานยางเครพจะถูกยกระดับเป็นมาตรฐานสินค้าเกษตร ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นการสร้างความมั่นใจให้กับผู้ซื้อและผู้ใช้ยาง ให้คุณภาพยางเทียบเท่ากับยางแผ่นรมควันหรือยางแท่ง STR10
และจากการที่เจ้าหน้าที่จากฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง ศูนย์วิจัยยางบุรีรัมย์ และสำนักงานตลาดกลางยางพาราหนองคายได้ลงพื้นที่ ณ สหกรณ์การเกษตรเขาวง จำกัด อ. เขาวง จ. กาฬสินธุ์ และสหกรณ์แปรรูปยางพาราขอนแก่น จำกัด อ. กระณวน จ. ขอนแก่น ที่ได้แจ้งความประสงค์ที่จะยกระดับการผลิตยางเครพให้ได้มาตรฐาน GMP คณะผู้เชี่ยวชาญจึงได้เสนอแนะให้ทำการแก้ไขและปรับปรุงส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต หลักใหญ่เน้นความเป็นระเบียบที่สามารถทวนสอบกลับได้ ความสะอาด การสุขาภิบาล การจัดการให้เป็นระบบรวมทั้งการวางเครื่องจักรหลักและเครื่องจักรเสริมบางตัว เพื่อให้ยางเครพที่ผลิตออกมาได้คุณภาพ มาตรฐาน ทั้งนี้หากทั้งสองสหกรณ์ได้ดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงตามที่คณะผู้เชี่ยวชาญกำหนด ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้ จะเข้ามาติดตามเป็นระยะ ๆ และฝึกปฏิบัติให้จนกว่าจะได้รับการรับรองจากฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง การยางแห่งประเทศไทยต่อไป
ทั้งนี้หากท่านต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง อ. หาดใหญ่ จ. สงขลา 074894306-7
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 511 Email: orf2008@rubber.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์
|
การปฏิเสธความรับผิดชอบ
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์