EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
กฎหมายทีเกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. กยท.
พ.ร.บ. กยท.(EN)
สรุปสาระสำคัญ พรบ. การยางฯ 58
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2563
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
ผู้เกษียณ
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
รายงานเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558
รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
ตรวจสอบสิทธิ์ประกันเกษตรกร
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ถ่ายทอดสด
คู่มือ work from home
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
ระบบฐานข้อมูลยางพารา
เอกสารวิชาการ
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2562
รายงานผลการวิจัยปี 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ถอดองค์ความรู้
รวมบทคัดย่อ งานวิจัย 2557-2561
วารสารยางพารา
คำแนะนำพันธุ์ยาง
2554
2559
องค์ความรู้
คู่มือข้อมูลทางวิชาการและแนวทางการป้องกันกำจัดโรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ระบบการสร้างสวนยางแบบผสมผสานโดยการปลูกยางร่วมกับพืชชนิดอื่น
หลักการปลูกสร้างสวนยางแบบผสมผสาน
การปฎิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
องค์ความรู้เกี่ยวกับ"โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ข่าวสาร กยท.
>>
ข่าวกิจกรรมเพื่อสังคม
กยท. จัดกิจกรรม CSR มอบสนามเด็กเล่นปูพื้นบล็อกยางพารา มุ่งหวัง ใช้นวัตกรรมยางของ กยท. เพื่อประโยชน์ชุมชนและสังคม
วันที่ 6 ส.ค. 2563
เมื่อวันที่ 5 ส.ค. 63 กยท. ส่งมอบสนามเด็กเล่นปูพื้นบล็อกยางพาราแก่ ร.ร.บ้านไสใหญ่ อ.ละงู จ.สตูล หนึ่งในกิจกรรม CSR มุ่งเน้นการใช้นวัตกรรมยางของ กยท. เพื่อประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม หวังเพิ่มมูลค่าให้ยางพารา
นายประพันธ์ บุณยเกียรติ ประธานกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
เผยว่า ตลอดระยะเวลา 5 ปี ที่ผ่านมา การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ได้ดำเนินบทบาทภารกิจขององค์กรภายใต้นโยบายที่ต้องการผลักดัน ส่งเสริม สนับสนุน ให้ยางพารา ไม่ใช่แค่หยดน้ำยางสีขาวที่ส่งออกไปยังต่างประเทศเท่านั้น แต่ กยท. มุ่งหวังที่จะเห็นยางพารากลายเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัว อยู่ในชีวิตประจำวัน มีความหลากหลายในการนำมาใช้ประโยชน์ ประกอบกับภาครัฐบาลมีนโยบายกระตุ้นให้เกิดการใช้ยางภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น กยท. จึง ขานรับนโยบายดังกล่าว โดยริเริ่มงานวิจัยการแปรรูปวัตถุดิบยางพาราจนไปสู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ได้จริง ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับยางพารา และช่วยให้เกษตรกรชาวสวนยางมีคุณภาพชีวิตที่ดี มั่นคงในระยะยาวต่อไป
ประธานกรรมการ กยท.
กล่าวเพิ่มเติมว่า โครงการดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR) ของการยางแห่งประเทศไทย จึงนำนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ยางพารามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน อาทิ หุ่นยางพาราเพื่อฝึกช่วยการฟื้นคืนชีพ (CPR) อุปกรณ์ฝึกสอนการเย็บแผลที่ผลิตจากยางพารา และบล็อคปูพื้นจากยางพารา เป็นต้น โดยครั้งนี้ กยท. ได้มอบสนามเด็กเล่นที่ปูพื้นด้วยบล็อกยางพารารูปตัวหนอน ให้แก่โรงเรียนบ้านไสใหญ่ จ.สตูล ซึ่งบล็อกยางพาราปูพื้นรูปตัวหนอน ผลิตโดยสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง จ.สตูล ที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้งานวิจัยและการผลิตจาก กยท. และแน่นอนว่าวัตถุดิบยางพาราที่นำมาแปรรูปนั้น ก็มาจากวัตถุดิบยางที่รับซื้อจากเกษตรกรชาวสวนยางใน จ. สตูล สำหรับพิธีมอบสนามเด็กเล่นครั้งนี้ กยท. รู้สึกประทับใจมากที่เห็นภาพเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านไสใหญ่ วิ่งเล่นในสนามปูพื้นยางพาราแห่งนี้ และเชื่อว่าผู้ปกครองที่ประกอบอาชีพเกษตรกรชาวสวนยางจะรู้สึกเช่นเดียวกัน
นางสาวนภาวรรณ เลขะวิพัฒน์ ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง การยางแห่งประเทศไทย
กล่าวว่า บล็อคปูพื้นรูปตัวหนอนจากยางพาราเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากยางธรรมชาติ ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน โดยแผ่นยางมีความยืดหยุ่นตัวสูงทำให้การสัมผัสกับพื้นผิวของการเดินหรือการวิ่งลดการกระแทกบริเวณข้อเท้าลดความรุนแรงของอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น มีความหนาสม่ำเสมอและมีความแข็งแรงติดตั้งง่ายและสะดวก อายุการใช้งานยาวนาน มีขนาด24x12x1.2(กว้างxยาวxหนา) เซนติเมตร 1 ตารางเมตรใช้บล็อกปูพื้นรูปตัวหนอนจากยางพารา 32 ชิ้น โดยสนามเด็กเล่นจากยางพาราของโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จังหวัดหวัดสตูล มีขนาดพื้นที่ 150 ตารางเมตร ใช้บล็อกปูพื้นรูปตัวหนอนจากยางพารา จำนวน 4,800 ชิ้น คิดเป็นการใช้ยางธรรมชาติ 1,500 กิโลกรัม ทั้งนี้ กยท. ได้จ้างให้ชุมนุมสหกรณ์กองทุนสวนยางสตูล จำกัด ซึ่งเป็นสถาบันเกษตรกรที่มีศักยภาพและได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตบล็อกปูพื้นรูปตัวหนอนยางพาราจาก กยท. เป็นผู้ผลิต
ทีมข่าวประชาสัมพันธ์ กยท.
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 511 Email: orf2008@rubber.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายข้อมูลส่วนตัว
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์