EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
พรบ. กยท.
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2561
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ถ่ายทอดสด
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
ระบบฐานข้อมูลยางพารา
เอกสารวิชาการ
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ถอดองค์ความรู้
วารสารยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข่าวประชาสัมพันธ์
ทำไมยางแผ่นรมควันของสหกรณ์กองทุนสวนยางมาตรฐาน GMP จัดเป็นยางชนิด premium grade
วันที่ 6 มี.ค. 2560
นับตั้งแต่ที่โรงรมควันสหกรณ์กองทุนสวนยางได้ดำเนินการเมื่อปี 2537 จนถึงปัจจุบัน สภาพโรงงานไม่เป็นระเบียบ รก สกปรก คนงานพักอาศัยในโรงผลิต ทั้งกลิ่นควันและของเสียคละคลุ้งทั่วบริเวณ ยางไม่ได้คุณภาพ และเมื่อจำหน่ายต้องผ่านบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ ซึ่งไม่มีอำนาจต่อรองทางการค้า ผลประกอบกิจการไม่ได้กำไรเท่าที่ควร ขาดสภาพคล่องทางการเงินทำให้การบริหารจัดการเป็นไปด้วยความยากลำบาก การใช้ระบบมาตรฐาน GMP จึงเป็นหลักสำคัญในการช่วยพัฒนาระบบคุณภาพที่ต้องใช้หลักปฏิบัติ 6 ประการคือ 1. สถานประกอบการ 2. เครื่องมือและอุปกรณ์ 3. กระบวนการผลิต 4. บุคลากร 5. การจัดเก็บและการขนส่ง 6. สุขาภิบาล
มาตรฐาน GMP ยางแผ่นรมควันจัดเป็นระบบสากลเหมือนกับ GMP ทั่ว ๆ ไปแต่เน้นในเรื่องคุณภาพที่ได้มาตรฐานและการจัดการที่สามารถทวนสอบได้ เมื่อระบบถูกควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอน แน่นอนว่ากระบวนการผลิตทำได้เร็วขึ้นทำให้รอบการผลิตยางแผ่นรมควันได้มากกว่าเท่าตัว ประหยัดสารเคมี ลดของเสียและกลิ่นเน่าเหม็น เครื่องจักรทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดระยะเวลาการรมควัน คนงานมีเวลาในการพักผ่อนมากขึ้น ชีวิตความเป็นอยู่ของคนงานดีขึ้นจากเดิมที่ต้องตื่นตีหนึ่ง ตีสอง ปัจจุบันตื่นตีห้าเพราะไม่มียางให้คัตติ้ง ที่สำคัญสมาชิกมีจำนวนมากขึ้นกว่า 20% เนื่องจากให้ความเชื่อมั่นและไว้วางใจกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น
ในส่วนโรงรมควันที่ได้ผ่านมาตรฐาน GMP จากการยางแห่งประเทศไทยเมื่อปีที่ผ่านมาได้แก่สหกรณ์กองทุนสวนยางโพธิ์โทน จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางวังคีรี จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางหนองบัว จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางคลองปาง จำกัด และสหกรณ์กองทุนสวนยางหนองศรีจันทร์ จำกัด ทั้ง 5 แห่งอยู่ในจังหวัดตรังทั้งหมด ยางแผ่นรมควันจะมีความสม่ำเสมอทุกครั้งที่ผลิต มีค่าความหนืดอยู่ในช่วง 80 - 90 (ML1+4)100oC ค่าความอ่อนตัวเริ่มแรก (Po) อยู่ในช่วง 47 -52 ค่าความเสื่อมสภาพ (PRI) อยู่ในช่วง 87 - 100 ซึ่งการควบคุมการผลิตทุกครั้งให้สมบัติทางกายภาพอยู่ในช่วงที่จำกัด ส่งผลให้การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทำได้ง่าย ลดของเสียที่เกิดขึ้นเนื่องจากได้สมบัติตามที่ลูกค้าต้องการซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้นยางที่ผ่านมาตรฐาน GMP นอกจากเป็นยางที่สะอาดปราศจากฟองอากาศ สมบัติทางกายภาพมีความสม่ำเสมอทุกครั้งที่ผลิตไม่ว่าน้ำยางจะมาจากแหล่งใด หรือช่วงฤดูกาลที่แตกต่าง ก็สามารถผลิตยางแผ่นรมควันที่มีสมบัติคงที่ ยางที่ผลิตได้จัดเป็น Premium grade เหมาะที่จะนำไปผลิตเป็นยางล้อเครื่องบินและยางทางวิศวกรรมที่ต้องการรับแรงกระแทกและน้ำหนักมาก ๆ นอกจากจะสามารถผลิตยางได้คุณภาพ มาตรฐานแล้ว สามารถจำหน่ายได้ในราคาที่สูงกว่าอีกด้วย
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 511 Email: orf2008@rubber.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์
|
การปฏิเสธความรับผิดชอบ
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์